คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตร นิติศาสตร์
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา | |
ชื่อเต็ม (ไทย) : | นิติศาสตรบัณฑิต |
ชื่อย่อ (ไทย) : | น.บ. |
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : | Bachelor of Laws |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : | LL.B. |
เกี่ยวกับหลักสูตร
รูปแบบ
หลักสูตร ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ มุ่งหมายผลิตบัณฑิตให้เป็นนักกฎหมายที่มีความรู้ความเข้าใจทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ มีทักษะที่จำเป็นในการเป็นนักกฎหมายที่มีคุณภาพ รวมถึงมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ มีความหนักแน่น มั่นคงในหลักการแห่งความยุติธรรม หลักนิติธรรม กับมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ที่ | ชื่อ-ฉายา/นามสกุล | คุณวุฒิ/สาขา | ติดต่อ |
1 | นายอุเทน สุขทั่วญาติ | น.ม.(นิติศาสตรมหาบัณฑิต) น.บ.(นิติศาสตรบัณฑิต) | 080-033-9889 |
2 | นายศรศักดิ์ อินทะกันฑ์ | น.ม.(นิติศาสตรมหาบัณฑิต) น.บ.(นิติศาสตรบัณฑิต) | |
3 | นายณัฎภณ กุลนพฤกษ์ | น.ม.(นิติศาสตรมหาบัณฑิต) น.บ.ท.(เนติบัณฑิตไทย) น.บ.(นิติศาสตรบัณฑิต) | |
4 | นางสาวแพรวนภา กองทิพย์ | น.ม.(นิติศาสตรมหาบัณฑิต) น.บ.(นิติศาสตรบัณฑิต) | 099-465-6539 |
5 | นางสาวสุพิชญา กันกา | น.ม.(นิติศาสตรมหาบัณฑิต) น.บ.(นิติศาสตรบัณฑิต) | 088-281-1718 |
คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา
- เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2561 ข้อ 7 หรือ
- มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่าชั้นปริญญาตรี สาขาใดก็ได้ ยกเว้นสาขานิติศาสตร์
แนวทางการประกอบอาชีพ
1) ผู้พิพากษา/ตุลาการ
2) พนักงานอัยการ
3) ตำรวจ
4) พนักงานฝ่ายปกครอง
5) ทนายความ
6) ผู้สอนในสถานศึกษา
7) นิติกร
8) ที่ปรึกษากฎหมายทั้งภาครัฐและเอกชน
9) รับราชการ
10) อาชีพอื่นๆ
คณะพุทธศาสตร์มหาบัณทิต
หลักสูตร พระพุทธศาสนา
คณะพุทธศาสตร์บัณทิต
หลักสูตร พระพุทธศาสนา
คณะพุทธศาสตร์
หลักสูตร พระพุทธศาสนา
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา | |
ชื่อเต็ม (ไทย) : | พุทธศาสตรบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) |
ชื่อย่อ (ไทย) : | พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) |
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : | BACHELOR OF ARTS (BUDDHIST STUDIES) |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : | B.A. (BUDDHIST STUDIES) |
เกี่ยวกับหลักสูตร
รูปแบบ
หลักสูตร ระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ปี
เป็นหลักสูตรที่มุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา โดยมีการสอนทั้งทฤษฎีและหลักการปฏิบัติด้านพระพุทธศาสนา เสริมสร้างศักยภาพให้นิสิตทั้งพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ สามารถนำความรู้ด้านพุทธศาสนาไปประยุกต์ใช้บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่แขนงต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเององค์กรที่เกี่ยวข้องกับตนเอง สังคมประเทศชาติและปรับศักยภาพความรู้ความสามารถเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เว็บไซต์
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ที่ | ชื่อ-ฉายา/นามสกุล | คุณวุฒิ/สาขา | ติดต่อ | |
---|---|---|---|---|
๑ |
คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา
๑ เป็นพระภิกษุสามเณร และบุคคลทั่วไป
๒ เป็นผู้สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค หรือเป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือได้รับประกาศนียบัตรอื่น ที่มหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
๓ เป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา หรือ
๔ เป็นพระสังฆาธิการหรือครูสอนพระปริยัติธรรม
๕ เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรงและไม่เป็นโรคหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคในการศึกษา ไม่เคยถูกคัดชื่อออก หรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใด ๆ เพราะความผิดทางความประพฤติหรือวินัย
การรับสมัคร
วันรับสมัครและการคัดเลือกเข้าศึกษา
เปิดรับสมัคร | ตั้งแต่วันที่ |
เอกสารประกอบการรับสมัคร
พระภิกษุ/สามเณร | |
๑. รูปถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน หน้าตรง ไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด ๑ นิ้ว | จำนวน ๒ รูป |
๒. สำเนาทะเบียนบ้าน | จำนวน ๑ ชุด |
๓. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน | จำนวน ๑ ชุด |
๔. สำเนาหนังสือสุทธิ หน้า ๒-๕ และหน้าสังกัดวัดปัจจุบัน | จำนวน ๑ ชุด |
๕. สำเนาระเบียนแสดงผลการศึกษา (รบ.๑- ป, รย.๒) | จำนวน ๑ ชุด |
๖. สำเนาประกาศนียบัตรเปรียญธรรม | จำนวน ๑ ชุด |
๗. สำเนาประกาศนียบัตรนักธรรม/ธรรมศึกษา | จำนวน ๑ ชุด |
๘. หลักฐานอื่นที่จำเป็น เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล |
คฤหัสถ์/บุคคลทั่วไป | |
๑. รูปถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน หน้าตรง ไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด ๑ นิ้ว | จำนวน ๒ รูป |
๒. สำเนาทะเบียนบ้าน | จำนวน ๑ ชุด |
๓. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน / บัตรข้าราชการ | จำนวน ๑ ชุด |
๔. สำเนาระเบียนแสดงผลการศึกษา (รบ.๑- ป, รย.๒) (ในกรณีที่เอกสารตัวจริงทางการศึกษาออกให้ไม่ทัน ต้องมีหนังสือรับรองจากสถาบันศึกษานั้นๆ มาแสดง) | จำนวน ๑ ชุด |
๕. หลักฐานอื่นที่จำเป็น เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล | จำนวน ๑ ชุด |
สถานที่รับสมัคร
๑ สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ เลขที่ ๑๑๑ หมู่ที่ ๕ ตำบลแม่คำมี อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ โทรศัพท์ ๐-๕๔๖๔๖๒๗๓
๒ สมัครออนไลน์ ผ่านทาง
ค่าธรรมเนียมในการสมัคร
๑ ค่าใบสมัครและระเบียบการ ราคาชุดละ ๒๐๐ บาท
๒ ค่าธรรมเนียมการสมัคร ๑๐๐ บาท
การขึ้นทะเบียนและลงทะเบียนเรียน
นิสิตใหม่รายงานตัวและมอบตัวขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต/ลงทะเบียน (พบอาจารย์ที่ปรึกษา) วันที่ ๑๗-๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๐๐ น. เป็นต้นไป เว้นวันพระ
การปฐมนิเทศนิสิต/ เปิดเรียน
เปิดเรียน ภาคปกติ (พระภิกษุ/คฤหัสถ์) วันอังคารที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๔
เปิดเรียน ภาคปกติ (รัฐศาสตร์คฤหัสถ์) วันเสาร์ที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๖๔
แนวทางการประกอบอาชีพ
๑. บุคลากรทางการศึกษา
๒. นักวิชาการศาสนา
๓. อนุศาสนาจารย์
๔. กรมราชทัณฑ์
๕. กรมสุขภาพจิต
๖. เจ้าหน้าที่ฝึกอบรมบุคลากร
๗. สังคมสงเคราะห์ฟื้นฟูพัฒนาจิตใจ
ครุศาสตร์
สาขาวิชาสังคมศึกษา
ครุศาสตร์
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ
คณะครุศาสตร์ (สังคมศึกษา)
หลักสูตร สังคมศึกษา
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา | |
ชื่อเต็ม (ไทย) : | ครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา) |
ชื่อย่อ (ไทย) : | ค.บ. (สังคมศึกษา) |
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : | BACHELOR OF EDUCATION PROGRAM IN SOCIAL STUDIES |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : | B.ED. (SOCIAL STUDIES) |
เกี่ยวกับหลักสูตร
รูปแบบ
หลักสูตร ระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ปี
เว็บไซต์
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ที่ | ชื่อ-ฉายา/นามสกุล | คุณวุฒิ/สาขา | ติดต่อ | |
---|---|---|---|---|
๑ |
คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา
๑ เป็นพระภิกษุสามเณร และบุคคลทั่วไป
๒ เป็นผู้สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค หรือเป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือได้รับประกาศนียบัตรอื่น ที่มหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
๓ เป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา หรือ
๔ เป็นพระสังฆาธิการหรือครูสอนพระปริยัติธรรม
๕ เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรงและไม่เป็นโรคหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคในการศึกษา ไม่เคยถูกคัดชื่อออก หรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใด ๆ เพราะความผิดทางความประพฤติหรือวินัย
การรับสมัคร
วันรับสมัครและการคัดเลือกเข้าศึกษา
เปิดรับสมัคร | ตั้งแต่วันที่ |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ | |
กำหนดการสอบคัดเลือก | |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา |
เอกสารประกอบการรับสมัคร
พระภิกษุ/สามเณร | |
๑. รูปถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน หน้าตรง ไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด ๑ นิ้ว | จำนวน ๒ รูป |
๒. สำเนาทะเบียนบ้าน | จำนวน ๑ ชุด |
๓. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน | จำนวน ๑ ชุด |
๔. สำเนาหนังสือสุทธิ หน้า ๒-๕ และหน้าสังกัดวัดปัจจุบัน | จำนวน ๑ ชุด |
๕. สำเนาระเบียนแสดงผลการศึกษา (รบ.๑- ป, รย.๒) | จำนวน ๑ ชุด |
๖. สำเนาประกาศนียบัตรเปรียญธรรม | จำนวน ๑ ชุด |
๗. สำเนาประกาศนียบัตรนักธรรม/ธรรมศึกษา | จำนวน ๑ ชุด |
๘. หลักฐานอื่นที่จำเป็น เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล |
คฤหัสถ์/บุคคลทั่วไป | |
๑. รูปถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน หน้าตรง ไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด ๑ นิ้ว | จำนวน ๒ รูป |
๒. สำเนาทะเบียนบ้าน | จำนวน ๑ ชุด |
๓. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน / บัตรข้าราชการ | จำนวน ๑ ชุด |
๔. สำเนาระเบียนแสดงผลการศึกษา (รบ.๑- ป, รย.๒) (ในกรณีที่เอกสารตัวจริงทางการศึกษาออกให้ไม่ทัน ต้องมีหนังสือรับรองจากสถาบันศึกษานั้นๆ มาแสดง) | จำนวน ๑ ชุด |
๕. หลักฐานอื่นที่จำเป็น เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล | จำนวน ๑ ชุด |
สถานที่รับสมัคร
๑ ฝ่ายทะเบียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
๒ สมัครออนไลน์ ผ่านทาง
ค่าธรรมเนียมในการสมัคร
๑ ค่าใบสมัครและระเบียบการ ราคาชุดละ ๒๐๐ บาท
๒ ค่าธรรมเนียมการสมัคร ๑๐๐ บาท
การขึ้นทะเบียนและลงทะเบียนเรียน
นิสิตใหม่รายงานตัวและมอบตัวขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต/ลงทะเบียน (พบอาจารย์ที่ปรึกษา)
การปฐมนิเทศนิสิต/ เปิดเรียน
เปิดเรียน ภาคปกติ (พระภิกษุ/คฤหัสถ์)
เปิดเรียน ภาคปกติ (รัฐศาสตร์คฤหัสถ์)
แนวทางการประกอบอาชีพ
ผู้ที่จบสาขาวิชาสังคมศึกษา สามารถประกอบวิชาชีพครูและสอบทำงานราชการในตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนดว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาครุศาสตรบัณฑิต หรือทำงานอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน โดยทำงานหน้าที่ต่างๆ ได้ดังนี้
๑) บรรจุครูผู้ช่วยสอนวิชาสังคมศึกษา และวิชาที่เกี่ยวข้อง
๒) ครูสอนวิชาสังคมศึกษาทั้งในหน่วยงานราชการและเอกชน
๓) อาชีพด้านการบริการสังคมในหน่วยงานของรัฐและเอกชน
๔) อาชีพเจ้าหน้าที่พัฒนาสังคม/สังคมสงเคราะห์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๕) มีศักด์และสิทธิ์ ในปริญญาตามกฎหมายทุกประการ
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตร รัฐศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Political Science Program
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตร รัฐศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Political Science Program
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา | |
ชื่อเต็ม (ไทย) : | รัฐศาสตรบัณฑิต |
ชื่อย่อ (ไทย) : | ร.บ. |
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : | BACHELOR OF POLITICAL SCIENCE |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : | B.POL.SC |
เกี่ยวกับหลักสูตร
รูปแบบของหลักสูตร
รูปแบบ | หลักสูตร ระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ปี |
ภาษาที่ใช้ | การจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย มีเอกสารตำราเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษประกอบ |
การรับเข้าศึกษา | รับนิสิตไทยและนิสิตต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี |
ความร่วมมือกับสถาบันอื่น | เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง |
การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา | ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว |
ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญา |
มุ่งสร้างบัณฑิตทางรัฐศาสตร์ที่เปี่ยมด้วยความรู้ ควบคู่คุณธรรม มีภาวะผู้นำ ตระหนักถึงอุดมการณ์ประชาธิปไตยบนฐานของหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และการเสียสละรับใช้ท้องถิ่น คณะสงฆ์ ชุมชน สังคม ประเทศ และประชาคมอาเซียน |
วัตถุประสงค์ |
๑. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการปกครองตามหลักรัฐศาสตร์สมัยใหม่ |
๒. เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถใช้ความรู้ทางด้านการปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพในการพัฒนาตนเอง คณะสงฆ์ องค์กร ชุมชน และสังคมโดยรวม |
๓. เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถนำความรู้ทางด้านการปกครองไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม |
เว็บไซต์
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ที่ | ชื่อ-ฉายา/นามสกุล | คุณวุฒิ/สาขา | ติดต่อ | |
---|---|---|---|---|
๑ |
คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา
๑ เป็นพระภิกษุสามเณร และบุคคลทั่วไป
๒ เป็นผู้สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค หรือเป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือได้รับประกาศนียบัตรอื่น ที่มหาวิทยาลัยรับรอง หรือ
๓ เป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา หรือ
๔ เป็นพระสังฆาธิการหรือครูสอนพระปริยัติธรรม
๕ เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรงและไม่เป็นโรคหรือภาวะอันเป็นอุปสรรคในการศึกษา ไม่เคยถูกคัดชื่อออก หรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใด ๆ เพราะความผิดทางความประพฤติหรือวินัย
การรับสมัคร
วันรับสมัครและการคัดเลือกเข้าศึกษา
เปิดรับสมัคร | ตั้งแต่วันที่ |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ | |
กำหนดการสอบคัดเลือก | |
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา |
เอกสารประกอบการรับสมัคร
พระภิกษุ/สามเณร | |
๑. รูปถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน หน้าตรง ไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด ๑ นิ้ว | จำนวน ๒ รูป |
๒. สำเนาทะเบียนบ้าน | จำนวน ๑ ชุด |
๓. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน | จำนวน ๑ ชุด |
๔. สำเนาหนังสือสุทธิ หน้า ๒-๕ และหน้าสังกัดวัดปัจจุบัน | จำนวน ๑ ชุด |
๕. สำเนาระเบียนแสดงผลการศึกษา (รบ.๑- ป, รย.๒) | จำนวน ๑ ชุด |
๖. สำเนาประกาศนียบัตรเปรียญธรรม | จำนวน ๑ ชุด |
๗. สำเนาประกาศนียบัตรนักธรรม/ธรรมศึกษา | จำนวน ๑ ชุด |
๘. หลักฐานอื่นที่จำเป็น เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล |
คฤหัสถ์/บุคคลทั่วไป | |
๑. รูปถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน หน้าตรง ไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด ๑ นิ้ว | จำนวน ๒ รูป |
๒. สำเนาทะเบียนบ้าน | จำนวน ๑ ชุด |
๓. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน / บัตรข้าราชการ | จำนวน ๑ ชุด |
๔. สำเนาระเบียนแสดงผลการศึกษา (รบ.๑- ป, รย.๒) (ในกรณีที่เอกสารตัวจริงทางการศึกษาออกให้ไม่ทัน ต้องมีหนังสือรับรองจากสถาบันศึกษานั้นๆ มาแสดง) | จำนวน ๑ ชุด |
๕. หลักฐานอื่นที่จำเป็น เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล | จำนวน ๑ ชุด |
สถานที่รับสมัคร
๑ ฝ่ายทะเบียนและวัดผล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
๒ สมัครออนไลน์ ผ่านทาง
ค่าธรรมเนียมในการสมัคร
๑ ค่าใบสมัครและระเบียบการ ราคาชุดละ ๒๐๐ บาท
๒ ค่าธรรมเนียมการสมัคร ๑๐๐ บาท
การขึ้นทะเบียนและลงทะเบียนเรียน
นิสิตใหม่รายงานตัวและมอบตัวขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต/ลงทะเบียน (พบอาจารย์ที่ปรึกษา)
การปฐมนิเทศนิสิต/ เปิดเรียน
แนวทางการประกอบอาชีพ
๑. เป็นข้าราชการในสังกัด ก.พ.และอื่นๆ
๒. เป็นข้าราชการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๓. เป็นข้าราชการทหาร และตำรวจ
๔. เป็นพนักงานในภาคเอกชน และรัฐวิสาหกิจ
๕. ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ
คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตร รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Political Science Program
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.)
หลักสูตร รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Political Science Program
ชื่อเต็มภาษาไทย : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Master of Political Science
ชื่อย่อภาษาไทย : ร.ม.
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : M.Pol. Sc.
เกี่ยวกับหลักสูตร
ระบบการจัดการศึกษา
๑) แผน ก รวมค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร (แผน ก.) บาท
แบบ ก (๒) ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๗ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๑๒ หน่วยกิต
๒) แผน ข รวมค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร (แผน ข.) บาท
ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๓๓ หน่วยกิต และทำสารนิพนธ์ ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๖ หน่วยกิต
วัน-เวลา ในการดำเนินการเรียนการสอน
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ โดยแบ่งเป็นภาคการศึกษาดังนี้
ภาคเรียนที่ ๑ | . | |
ภาคเรีนยที่ ๒ | ||
ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
เว็บไซต์
คณาจารย์ผู้บริหารหลักสูตร
ที่ | ชื่อ-ฉายา/นามสกุล | คุณวุฒิ/สาขา | ติดต่อ | |
๑ |
อาจารย์พิเศษ
ที่ | ชื่อ-ฉายา/นามสกุล | คุณวุฒิ/สาขา | ติดต่อ | |
---|---|---|---|---|
๑ |
คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา
๑ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขาวิชาจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง โดยได้รับค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ยกเว้นผู้มีประสบการณ์การทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับแต่จบปริญญาตรี
๒ ผู้สำเร็จการศึกษาเปรียญธรรม ๙ ประโยคหรือบาลีศึกษา ๙
๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
การรับสมัคร
เอกสารประกอบการรับสมัคร
๑ | สำเนาใบปริญญาบัตรและใบแสดงผลคะแนนวิชาระดับปริญญาตรี | จำนวน ๒ ชุด |
๒ | สำเนาหนังสือสุทธิ สำหรับพระภิกษุ/สามเณร หรือสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน/ข้าราชการ สำหรับคฤหถัสถ์ | จำนวน ๒ ฉบับ |
๓ | สำเนาทะเบียนบ้าน | จำนวน ๒ ฉบับ |
๔ | รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว สำหรับติดใบสมัครและบัตรประจำตัวผู้สมัครที่ติดรูปถ่าย | จำนวน ๔ รูป |
๕ | หลักฐานอื่น (ถ้ามี) เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล | จำนวน ๒ ชุด |
๖ | ผลคะแนนภาษาอังกฤษจากสถาบันภาษาที่มหาวิทยาลัยรับรอง ซึ่งมีผลการสอบอายุไม่เกิน 2 ปี (ถ้ามี) |
สถานที่รับสมัคร
๑. สำนักงานบัณฑิตศึกษา อาคารเรียนอบจ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
๒. สมัครออนไลน์ ผ่านทาง
วันรับสมัครและการคัดเลือกเข้าศึกษา
๑ เปิดรับสมัคร ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. เปิดรับสมัครวันจันทร์-วันศุกร์ เว้นวันพระ และวันนักขัตฤกษ์
๒ สอบข้อเขียน วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๙.๐๐ น. เป็นต้นไป
สอบสัมภาษณ์ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. เป็นต้นไป
๓ ประกาศผลสอบคัดเลือก วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓
๔ สอบภาษาอังกฤษ MCU-GET วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๓
๕ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๓
ค่าธรรมเนียมในการสมัคร
– ค่าใบสมัคร, ระเบียบการ และค่าธรรมเนียมการสมัคร ๕๐๐ บาท
การขึ้นทะเบียนและลงทะเบียนเรียน
นิสิตใหม่รายงานตัวและมอบตัวขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต/ลงทะเบียน (พบอาจารย์ที่ปรึกษา) วันที่ ๒๕ พฤษภาคม – ๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ (เว้นวันธรรมสวนะ) เวลา ๐๙.๐๐ น. เป็นต้นไป
การปฐมนิเทศนิสิต/ เปิดเรียน
เตรียมความพร้อมก่อนเรียนและพิธีปฐมนิเทศนิสิใหม่ วันที่
เปิดเรียน วันที่
๑. เป็นนักวิจัย นักวิชาการ และอาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐศาสตร์ และสาขาที่สัมพันธ์กัน ในสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
๒. เป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านรัฐศาสตร์ และด้านการบริหารองค์กร ด้านการเมืองการปกครอง
๓. เป็นข้าราชการ พนักงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรอิสระ พนักงานรัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชน
๔. เป็นผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูงในหน่วยงาน
๕. เป็นนักบริหารการปกครองด้านรัฐศาสตร์
๖. ประกอบอาชีพอิสระ